วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่16 วันอังคารที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

การศึกษานอกสถานที่


มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติNational Science and Technology Fair 2558


จุดประกายความคิด  พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์  เสริมสร้างชาติด้วยเทคโลยี  สู่วิถีแห่งวัฒนธรรม



ณ อาคาร ชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี







ความรู้ที่ได้

นิทรรศการ แสงคือชีวิต แสง...ความเป็นไปได้ที่ไม่สิ้นสุด


นิทรรศการ  น้ำ...วิถีคนเมือง

นิทรรศการเทิศพระเกียรติ/Royal  Pavilion

นิทรรศการ   ชีวิตดีดี  ด้วยดิจิทัล

นิทรรศการ  วิกฤต  ลมฟ้า  อากาศ

นิทรรศการ   ของเล่นภูปัญญา

นิทรรศการ   รู้รักษ์ช้าง

นิทรรศการ    ดินดี  ชีวิตดี

นิทรรศการ   ความหลากหลายสู่ความยั่งยืน  

นิทรรศการ   อาหารเพื่ออนาคต





สะเต็มการศึกษา
STEM  Education

             สะเต็มศึกษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ได้บูรณาการความรู้ระหว่างสหวิทยาการได้แก่  วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี  วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์  โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญญาหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน





สื่อการทดลอง






Refractometer   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดปริมาณน้ำตาลในของเหลว
                -  การใช้งานก็เพียงแค่นำน้ำตัวอย่างมาหยดลงบนแผ่นกระจก และประกบปิดด้วยเพลทพลาสติก จากนั้นยกอุปกรณ์ส่องดูโดยหันหาแสงสว่างเพื่อให้เห็นค่าสเกลภายใน
จากการทดลองพบว่า  น้ำผลไม้ชนิดต่างๆ มีค่า ประมาณ 11-12  แต่น้ำโออิชิ  วัดได้ 13 มีน้ำตาลมากกว่าน้ำผลไม้ชนิดอื่นๆ






การทดลองน้ำอุ่น น้ำเย็น



















รู้จักใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

1. เลือกใช้ไฟฟ้าที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
2. เปลี่ยนหลอดไฟมาใช้หลอดตะเกียบแบบประหยัดพลังงานแทนหลอดไส้ทั่วไป
3. เลือกเติมน้ำมันเชื้อเพลิงให้เหมาะสมกับยานพาหนะ
4. ลดความร้อนภายในอาคารด้วยการปลูกต้นไม้

รู้หรือไม่เรามีสิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้พลังงานเราทุกคนเป็นเจ้าของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่อยู่ในประเทศซึ่งมีสิทธิเข้าถึงข้อมูล ด้านพลังงานได้อย่างครบถ้วนและถูกต้องเรามีสิทธิใช้พลังงานหลากหลายรูปแบบ ในราคาที่เหมาะสมเป็นธรรมและเสมอภาคเรามีหน้าที่รู้จักและเลือกพลังงานชนิดต่างๆให้เหมาะสมเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและลดผลกระทบต่อโลกในอนาคต








วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่15 วันอังคารที่ 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน





Knowledge.


นำเสนอบทความ


 นางสาว รัชดา   เทพรียน  เลขที่6




    นางสาวเปมิกา ชุติมาสวรรค์  เลขที่5





นางสาวชณาภา  คะปัญญา  เลขที่4

















              นางสาว ชนากานต์  พงศ์สิทธิศักดิ์  เลขที่22                                                                                                                                                                                                               





นำเสนอวิจัย


   นางสาวประภัสสร คำบอนิทักษ์ เลขที่3








ตัวอย่างแผน









   นางสาวจงรักษ์ หลาวเหล็ก เลขที่2






ตัวอย่างแผน










นำเสนอโทรทัศน์ครู



   นางสาวกรกช เดชประเสริฐ  เลขที่9 










Skills.

    -การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    -การจัดเขียนแผนการสอน
   -ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง7 ทักษะ
   -
Teaching Methods.

      อาจารย์ได้ทบทวนความรู้และประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น  อาจารย์ใช้คำถาม และยกตัวอย่างในแต่ละกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันตอบคำถามและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน 

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการตอบคำถามและ ช่วยกันตอบคำถามได้ดี

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน

ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่14 วันอังคารที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน





Knowledge.

กิจกรรม Cooking ข้าวจี่

วัตถุดิบ/อุปกรณ์

1.ข้าวเหนียว
2.ไข่ไก่
3.ไก่หยอง
4.เกลือ
5.เตาปิ้ง
6.ไม้เสียบข้าวจี่
7.ชาม

ขั้นตอนในการทำข้าวจี่





ฐานที่1 ปั้นข้าวเหนียวให้ได้ขนาดตามต้องการแล้วเสียบไม้ ใส่ไส้ไก่หยองปั้นข้าวให้แน่นแล้วทาเกลือ







ฐานที่2 นำข้าวมาปิ้งแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง



ฐานที่3 เมื่อข้าวเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองทาไข่ 2-3รอบ


ฐานที่4 ปิ้งให้ไข่สุก







กิจกรรม Cooking หวานเย็น



วัตุดิบ/อุปกรณ์

1.น้ำหวานรสชาติต่างๆ
2.น้ำแข็ง
3.เกลือ
4.น้ำ
5.ชามหรือกะละมัง
6.ไม้พาย

ขั้นตอนในการทำหวานเย็น



ฐานที่1 ผสมเกลือและน้ำแข็งใส่ในกะละมัง







ฐานที่2 เทน้ำผสมกับน้ำหวานตามต้องการ









ฐานที่3 คนน้ำหวานของเราไปเรื่อยๆ จนน้ำหวานเปลี่ยนสถานะ





กิจกรรมCooking ขนมโค

วัตถุดิบ/อุปกรณ์

1.แป้งข้าวเหนียว
2.น้ำตาล
3.มะพร้าว
4.สีผสมอาหาร
5.จาน
6.กระทะไฟฟ้า
7.ช้อน
8.น้ำ


ขั้นตอนในการทำขนมโค

ฐานที่1 เทแป้งข้าวเหนียวผสมกับสีผสมอาหารแล้วคลุกให้เข้ากัน






ฐานที่2 นวดแป้งและคลึงแป้งเป็นรูปทรงต่างๆ ตามขนาดที่ต้องการ





ฐานที่3 น้ำไปต้มในน้ำเดือดประมาณ3-4นาที สังเกตว่าแป้งสุกหรือไม่ดูจากการลอยตัวขึ้นของแป้ง





ฐานที่4 คลุกกับมะพร้าวขูด









นำเสนอโทรทัศน์


               นางสาว  กมลรัตน์   มาลัย  เลขที่7














Skills.

     1ได้ทักษะ การสังเกต การจำแนก จากการทำกิจกรรม
     2. การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดวิเคราะห์
     3.ด้านทักษะทางด้านสังคมและการทำงานร่วมกับผู้อื่น



Teaching Methods.

      อาจารย์เป็นผู้อำนวยความสะดวกและเป็นที่ปรึกษาในการจัดเตรียมกิจกรรมในครั้งนี้ อาจารย์เชื่อมโยงการทำCooking การต้ม การอบ  การปิ้ง ว่าเกิดขึ้นจากอะไร ให้นักศึกษาคิดและสรุปเป็นองค์ความรู้

Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย ทำกิจกรรมได้สำเร็จลุล่วง

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันทำกิจกรรมCooking และช่วยกันสรุปขั้นตอนและวิธีในการทำ

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการทำกิจกรรม

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน
ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์