วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่15 วันอังคารที่ 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน





Knowledge.


นำเสนอบทความ


 นางสาว รัชดา   เทพรียน  เลขที่6




    นางสาวเปมิกา ชุติมาสวรรค์  เลขที่5





นางสาวชณาภา  คะปัญญา  เลขที่4

















              นางสาว ชนากานต์  พงศ์สิทธิศักดิ์  เลขที่22                                                                                                                                                                                                               





นำเสนอวิจัย


   นางสาวประภัสสร คำบอนิทักษ์ เลขที่3








ตัวอย่างแผน









   นางสาวจงรักษ์ หลาวเหล็ก เลขที่2






ตัวอย่างแผน










นำเสนอโทรทัศน์ครู



   นางสาวกรกช เดชประเสริฐ  เลขที่9 










Skills.

    -การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    -การจัดเขียนแผนการสอน
   -ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง7 ทักษะ
   -
Teaching Methods.

      อาจารย์ได้ทบทวนความรู้และประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น  อาจารย์ใช้คำถาม และยกตัวอย่างในแต่ละกิจกรรมเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันตอบคำถามและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน 

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการตอบคำถามและ ช่วยกันตอบคำถามได้ดี

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน

ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

วันศุกร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่14 วันอังคารที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน





Knowledge.

กิจกรรม Cooking ข้าวจี่

วัตถุดิบ/อุปกรณ์

1.ข้าวเหนียว
2.ไข่ไก่
3.ไก่หยอง
4.เกลือ
5.เตาปิ้ง
6.ไม้เสียบข้าวจี่
7.ชาม

ขั้นตอนในการทำข้าวจี่





ฐานที่1 ปั้นข้าวเหนียวให้ได้ขนาดตามต้องการแล้วเสียบไม้ ใส่ไส้ไก่หยองปั้นข้าวให้แน่นแล้วทาเกลือ







ฐานที่2 นำข้าวมาปิ้งแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง



ฐานที่3 เมื่อข้าวเปลี่ยนสีเป็นสีเหลืองทาไข่ 2-3รอบ


ฐานที่4 ปิ้งให้ไข่สุก







กิจกรรม Cooking หวานเย็น



วัตุดิบ/อุปกรณ์

1.น้ำหวานรสชาติต่างๆ
2.น้ำแข็ง
3.เกลือ
4.น้ำ
5.ชามหรือกะละมัง
6.ไม้พาย

ขั้นตอนในการทำหวานเย็น



ฐานที่1 ผสมเกลือและน้ำแข็งใส่ในกะละมัง







ฐานที่2 เทน้ำผสมกับน้ำหวานตามต้องการ









ฐานที่3 คนน้ำหวานของเราไปเรื่อยๆ จนน้ำหวานเปลี่ยนสถานะ





กิจกรรมCooking ขนมโค

วัตถุดิบ/อุปกรณ์

1.แป้งข้าวเหนียว
2.น้ำตาล
3.มะพร้าว
4.สีผสมอาหาร
5.จาน
6.กระทะไฟฟ้า
7.ช้อน
8.น้ำ


ขั้นตอนในการทำขนมโค

ฐานที่1 เทแป้งข้าวเหนียวผสมกับสีผสมอาหารแล้วคลุกให้เข้ากัน






ฐานที่2 นวดแป้งและคลึงแป้งเป็นรูปทรงต่างๆ ตามขนาดที่ต้องการ





ฐานที่3 น้ำไปต้มในน้ำเดือดประมาณ3-4นาที สังเกตว่าแป้งสุกหรือไม่ดูจากการลอยตัวขึ้นของแป้ง





ฐานที่4 คลุกกับมะพร้าวขูด









นำเสนอโทรทัศน์


               นางสาว  กมลรัตน์   มาลัย  เลขที่7














Skills.

     1ได้ทักษะ การสังเกต การจำแนก จากการทำกิจกรรม
     2. การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดวิเคราะห์
     3.ด้านทักษะทางด้านสังคมและการทำงานร่วมกับผู้อื่น



Teaching Methods.

      อาจารย์เป็นผู้อำนวยความสะดวกและเป็นที่ปรึกษาในการจัดเตรียมกิจกรรมในครั้งนี้ อาจารย์เชื่อมโยงการทำCooking การต้ม การอบ  การปิ้ง ว่าเกิดขึ้นจากอะไร ให้นักศึกษาคิดและสรุปเป็นองค์ความรู้

Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย ทำกิจกรรมได้สำเร็จลุล่วง

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันทำกิจกรรมCooking และช่วยกันสรุปขั้นตอนและวิธีในการทำ

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการทำกิจกรรม

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน
ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่13 วันอังคารที่ 10 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน





Knowledge.


กิจกรรมการทำ Cooking ในชั้นเรียน วาฟเฟิล และ ทาโกยากิ

1. วาฟเฟิล

 
=> กำหนดปัญหา
-  วาฟเฟิลสุกได้อย่างไร

=> การตั้งสมมติฐาน
-    เมื่อนำวาฟเฟิลเข้าเตาอบความร้อนของเตาจะทำให้วาฟเวิฟสุกได้

-   ลักษณะและความลึกของแม่พิมพ์จะทำให้วาฟเฟิลแตกต่างกัน
-    มื่อวาฟเฟิลโดนความร้อนจากแป้งวาฟเฟิลที่เป็นของเหลวก็จะกลายเป็นของแข็ง 

=> การรวบรวมข้อมูล
- เมื่อเด็กผสมแป้งวาฟเฟิลเสร็จ ฐานต่อไปก็นำไปเข้าเตาอบเมื่อวาฟเฟิลสุกแล้วเด็กเเต่ละคนก็นำวาฟเฟิลมาวางเรียงกัน เพื่อตกแต่งเด็กแต่ละคนก็จะรู้ว่าเเต่ละจานนั้นมีสีที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับเวลาและลักษณะของแม่พิมพ์ที่ใช้

=> สรุปผล
 - จากการทำวาฟเฟิล เด็กได้รู้ว่าวาฟเฟิลสุกได้อย่างไรเเละลักษณะ  ความลึกของแม่พิมพ์ที่ใช้ในการทำแตกต่างกันทำให้เวลาที่ใช้ในการอบของเด็กแต่ละคนก็แตกต่างกันไปด้วย


ขั้นตอนในการทำวาฟเฟิล









                                         






 





          







                               

          2. ทาโกยากิ


=> กำหนดปัญหา
-  ทาโกยากิสุกได้อย่างไร

=> การตั้งสมมติฐาน
-    เมื่อนำทาโกยากิเข้าเตาอบความร้อนของเตาจะทำให้ทาโกยากิสุกได้

 
=> การรวบรวมข้อมูล
 เมื่อทำทาโกยากิเสร็จเเล้วเด็กเเต่ละคนมาวางเรียงกันเพื่อตกแต่งให้สวยงามน่ารับประทาน เด็กจะรู้ว่าเเต่ละจานนั้นมีสีที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับเวลาที่เด็กเอาทาโกยากิปิ้งในเตานานเเค่ไหน 


=> สรุปผล
 - จากการทำทาโกยากิ  เด็กจะได้รู้ว่า
ทาโกยากิสุกได้อย่างไรเเละควรใช้เวลาเท่าไหร่ในการทำถึงจะได้ทาโกยากิที่มีสีสันน่าทาน



ขั้นตอนในการทำทาโกยากิ




ฐานที่1 เตรียมวัตถุดิบ
                                                                                   




ฐานที่2 หั่นส่วนผสม



                                                                             

 


ฐานที่3 ผสมส่วนผสมเข้าด้วยกัน






ฐานที่4 นำไปทอดบนเตา















Skills.

     1.  การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลว-ของแข็ง
     2. สามารถบอกหรืออธิบายวิธีการทำและส่วนผสมที่ทำได้
      3.รู้จัก กำหนดปัญหา  การตั้งสมมติฐาน    การรวบรวมข้อมูล    สรุปผล ได้
  
    4.ทำให้เกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง7ทักษะ





Teaching Methods.

      อาจารย์มีการสาธิตวิธีการทำCooking และใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิดสังเคราะห์  คิดวิเคราะห์  มีการอธิบาย  ยกตัวอย่าง และเทคนิคในการทำกิจกรรม


Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันตอบคำถามและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน 

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการตอบคำถามและ ช่วยกันตอบคำถามได้ดี

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน

ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์