วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558




สรุปงานวิจัย
งานวิจัย

เรื่อง  ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน 
ปริญญานิพนธ ของ

 ศศิพรรณ สําแดงเดช

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 


เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

พฤษภาคม 2553


การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัด กิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชาย - หญิง อายุ 5 – 6 ปจํานวน 15 คน ที่ กําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลปที่ 2 ภาคเรียนที่2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมนุกูล) สํานักงานเขตจอมทอง กรุงเทพมหานครซึ่งไดมา จากการเลือกแบบหลายขั้นตอน เปนระยะเวลา 8 สัปดาห สัปดาหละ 3 วัน วันละ 30 นาที

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน 24 แผน และ แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรเปนทักษะที่ควรสงเสริมใหเด็กตั้งแต่ในช่วงปฐมวัยเนื่องจาก เปนวัยที่เขาใจวิทยาศาสตรไดดีการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ใหกับเด็กปฐมวัยนั้น สามารถทําไดหลายวิธีการจัดประสบการณที่เหมาะสําหรับเด็กปฐมวัยมี 3 ทักษะคือ ทักษะ เกี่ยวกับการสังเกต การจําแนก และการสอนนิทานก็เปนอีกวิธีการหนึ่ง เนื่องจากโดยธรรมชาติ แลวเด็กทุกคนชอบนิทาน ครูจึงสามารถสอดแทรกสิ่งที่ตองการสอนเด็กหรือเนื้อหาความรูตางๆ ใหกับเด็กได
 จุดมุงหมาย เพื่อสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยในดานการสังเกต การจําแนก และการสื่อสาร แนวทางการจัดกิจกรรมการเลานิทานเพื่อพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน ทุกครั้งมีการดําเนินการตามขั้นตอน ดังตอไปนี้
 1 ขั้นนํา ครูนําเด็กเขาสูเรื่ิองราว เช่นการร้อง การสนทนาการทําทาทาง การใช คําถาม และสรางขอตกลงรวมกันระหวางครูกับเด็กในการปฏิบัตตัวระหว่างฟังนิทาน
 2 ขั้นดําเนินกิจกรรม เด็กฟงนิทานโดยใชสื่อประกอบการเลาเชน รูปภาพ หุนตางๆ เปนตน ในระหวางการเลามีการสนทนาซักถาม หรือใหเด็กมีสวนรวมในการเลา เชน ชวยกันสังเกต ช่วยกัน เปรียบเทียบสีเปนตน เด็กและครูรวมกันสนทนา และรวมกันทํากจกรรมการทดลองหลังการฟง นิทานเพื่อใหเด็กไดฝกทักษะในเรื่อง การสังเกต การจําแนก และการสื่อสาร ที่มีความสัมพันธกับ เนื้อเรื่องและส่งเสริม
ทักษะพื้นฐานทางวทยาศาสตร ตามจุดประสงคของการทดลอง
 3 ขั้นสรุป เด็กรวมกิจกรรมอยางสนุกสนานและทําการทดลองทางวิทยาศาสตรด้วยความ เขาใจ กิจกรรมครั้งนี้จัดสัปดาหละ 3 วัน ไดแกวันจันทรวันอังคาร วันพุธ วนละ  1 ครั้ง ครั้งละ 15 นาทีในชวงเวลา  08.30 – 08.45 น. นิทานที่ใช้ในการส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยมีทั้งหมด 24 เรื่อง บทบาทครูในการทํากิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน ในการทํากิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทานครูควร

ปฏิบัติดังนี้

 1.ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทานใหเขาใจ

 2.จัดสื่ออุปกรณสถานที่ประกอบการจัดกิจกรรมการทดลองใหพรอม

 3.สรางขอตกลงเบื้องตนกับเด็กเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในขณะฟังนิทานและการทดลอง


สรุปผลการวิจัย
            1.  เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญที่ .01 และพบว่าทักษะด้านการสังเกต การจำแนก และการสื่อสารสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ .01
            2.  ก่อนการทดลองการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน โดยรวมและรายด้าน คือ ด้านการสังเกต ด้านการจำแนก และด้านการสื่อสาร อยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมหลังการฟังนิทานโดยรวมอยู่ในระดับดีและรายด้านคือ ด้านการสังเกตอยู่ในระดับดีมาก ด้านการจำแนกและการสื่อสารอยู่ในระดับดี






     

บันทึกครั้งที่7 วันอังคารที่22 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

       นำเสนอวิจัย


นางสาว วราภรณ์ แทนคำ เลขที่20








นางสาว รัตนาภรณ์ คงกะพันธ์ เลขที่21


















นางสาว ยุภา ธรรมโคตร เลขที่22




                           ของเล่นวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุเหลือใช้

ชื่อของเล่น   เครื่องเขย่าพาเพลิน


อุปกรณ์   1. ขวดน้ำพลาสติกหรือกระป๋องน้ำอัดลม
               2.เมล็ดถั่วเขียว
              3.กระดาษสีต่างๆ
               4.กาว

ขั้นตอนการทำ
1.นำขวดน้ำพลาสติกหรือกระป๋องน้ำอัดลมมาแล้วเปิดฝาออก
2.ใส่เมล็ดถั่วเขียวลงไปตามสัดส่วนที่เราต้องการ
3.ซีกกระดาษสีให้เป็นชิ้นตามขนาดที่เราต้องการ
4.ทากาวที่กระดาษที่เราซีกไว้





5.แปะกระดาษให้ทั่วขวดน้ำหรือกระป๋องน้ำอัดลม






วิธีเล่น 
ใช้มือข้างใดข้างหนึ่งจับเครื่องเขย่าแล้วเขย่าให้เกิดเสียง


ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์
ขวดน้ำหรือกระป๋องน้ำอัดลมที่ใส่เมล็ดถั่วเขียวไว้ข้างในเมื่อเราเขย่าจะมีเสียงเกิดขึ้น เป็นเพราะถั่วเขียวเกิดการสั่นสะเทือนจากการที่เราเขย่าแล้วกระทบกับกับขวดน้ำ จึงทำให้เกิดเสียงเมื่อเราเขย่าและถ้าเราใส่เมล็ดถั่วเขียวในระดับที่ต่างกันขวดหนึ่งใส่เมล็ดถั่วเขียวมากอีกขวดหนึ่งใส่เมล็ดถั่วเขียวน้อยและถ้าเราเขย่าเสียงที่เกิดขึ้นจากการเขย่าก็จะมีเสียงที่ต่างกัน



Skills.

     1การศึกษาค้นคว้าและการออกแบบของเล่นเพื่อให้เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์
    2. การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดวิเคราะห์





Teaching Methods.

      อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิดสังเคราะห์  คิดวิเคราะห์  มีการอธิบาย  ยกตัวอย่าง


Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันตอบคำถามและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน 

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการตอบคำถามและ ช่วยกันตอบคำถามได้ดี

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน

ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่6 วันอังคารที่15 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

-ทดสอบก่อนเรียน เรื่องการทำงานของสมอง












             -การนำเสนอบทความ



=> นางสาวสุจิตรา มาวงษ์ เลขที่24  เรื่อง แนวทางสอนคิด เติม วิทย์ ให้เด็กอนุบาล

        แนวทางในการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กมี 5 ข้อดังนี้


               1. ตั้งคำถามที่เด็กสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง 
               2. ออกไปหาคำตอบด้วยตัวเอง 

               3. เมื่อขั้นสองสำเร็จ เด็กจะเอาสิ่งที่เขาค้นพบมาไปตอบคำถามในขั้นนี้คุณครูอาจช่วย

           เสริมในแง่ของความครบถ้วนสมบูรณ์หรือในด้านของเหตุและผล

               4. นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อน ๆ

               5. การนำสิ่งที่เด็กค้นพบคำตอบนั้นไปเชื่อมโยงกับคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ 



=> นางสาวประภัสสร สีหบุตร เลขที่23 เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของเด็กปฐมวัย 
 นิทานเป็นสื่อที่ดีในการใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่หาง่าย ส่วนใหญ่นำเอามาเล่าให้เด็กฟังเพื่อความเพลิดเพลินแล้วก็จบไป                     แต่ที่ จริงแล้วนิทานเป็นสื่อที่ดี ช่วยให้เด็ก ๆ เรียนรู้ได้หลากหลาย 
       คือ เรื่องของภาษา คำพูด เสียง ยิ่งนิทานที่มีคำซ้ำ ๆ เด็กจะฟังและเลียนแบบคำได้
      เทคนิคการเลือกนิทานให้เด็ก ควรเลือกให้เหมาะกับวัย เช่น เด็กเล็ก เริ่มจากเรื่องราวสิ่งใกล้ตัวที่เขาชอบ เช่น สัตว์                  ธรรมชาติ ภาพน่ารัก ๆ เลือกสีสัน และเนื้อหาที่ไม่ยาวเกินไปเด็ก ๆ 



-แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์










หลักการ/ แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก












             ความสำคัญของวิทยาศาสตร์

-ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก


-พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


-เสริมสร้างประสบการณ์


         ประโยชน์ของการเรียนวิทยาศาสตร์


-พัฒนาความคิดรวบยอด


-พัฒนาทีกษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์


-สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง





      

Skills.

      1.ฝึกระดมความคิดการตอบคำถามและการเสนอความคิดเกี่ยวกับการทำงานของสมอง

      2.การคิดวิเคราะห์  การสังเคราะห์

      3.การนำเสนอบทความต่างๆ




Teaching Methods.

      อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิด  เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและอธิบายเพิ่มเติมจากการประดิษฐ์กระดาษของนักศึกษาและการทำMy mapping




Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา เทคโนโลยียังไม่พร้อมต่อการใช้งาน เพราะไม่สามารถใช้Internet ได้ เนื่องจากเป็นวันแรกในการเข้าใช้ห้องเรียน

 -Self   การตอบคำถาม การระดมความคิด และมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและช่วยกันตอบคำถาม

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการใช้คำถามที่หลากหลายในการถามนักศึกษา อาจารย์เพิ่มเติ่มจากคำตอบที่นักศึกษาได้ตอบไป

วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่5 วันอังคารที่8 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

นำเสนอสิ่งประดิษฐ์จากกระดาษ


กิจกรรมที่จะสามารถส่งเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย  โดยกิจกรรมที่นำเสนอเป็นกิจกรรมที่ประดิษฐ์จากกระดาษหนึ่งแผ่นที่อาจารย์แจกให้

เรื่อง หมวก







วิธีการทดลอง

1.นำหมวกไปถูที่เส้นผมหลายๆครั้ง
2.สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เส้นผม ผมจะชี้ฟูขึ้น



สรุปแนวคิด

โดยปกติผมของเราจะไม่มีประจุคือมีจำนวนประจุลบและประจุบวกเท่ากัน แต่เมื่อเราถอดหมวก หมวกจะเสียดสีกับเส้นผมทำให้

อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบซึ่งหลุดออกได้ง่ายเคลื่อนที่จากผมไปสู่หมวก ทำให้ขณะนี้ผมของเราเกิดเป็นประจุบวกเกิดขึ้น ซึ่งเมื่อ

ประจุบวกเจอกับประจุบวกจะเกิดการผลักกันดังนั้นเมื่อเราถอดหมวกผมของเราจึงชี้ฟูและตั้งขึ้น






ตัวอย่างของเพื่อนที่ทำเรื่องต่างๆ เช่น

เรื่อง ว่าว นางสาวยุภา ธรรมโคตร





กิจกรรมการทดลอง  เรื่องการ ลอย จม

นางสาววราภรณ์ แทนคำ








Skills.

1.การฝึกการคิดและฝึกการจินตนาการจากสิ่งประดิษฐ์เพื่อให้เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์
2.การคิดวิเคราะห์-สังเคราะห์




    



Teaching Methods.

      อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาเรียนรู้จากประสบการณ์เดิม ในการลงมือปฎิบัติจริงและเชื่อมโยงเข้ากับวิทยาศาสตร์




Assessment.

 -classroom  Condition  อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self   แต่งกายถูกระเบียบ ทำงานที่ได้รับหมอบหมายอย่างตั้งใจและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำงานที่ได้รับหมอบหมาย มีไหวพริบในการตอบคำถาม

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม หากิจกรรมที่จะทำให้เกิดทักษะการเรียนรู้และเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่4 วันอังคารที่1 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน


                             *ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากไปเข้าร่วมกิจกรรม  ศึกษาศาสตร์วิชาการ*


Knowledge.


  =>การเรียนรู้ในศตวรรษที่21









                                                                        


              เป้าหมายของการเรียนรู้ในศตวรรษที่21



     =>เนื้อหา

-การอ่าน
-การเขียน
-การคำนวณ

     =>ความรู้เชิงบูรณาการ

โลก  การเงิน  เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ  สิทธิพลเมือง สุขภาพและสิ่งแวดล้อม

      =>คุณลักษณะในด้านต่างๆ

-ด้านการทำงาน  การปรับตัว  ความเป็นผู้นำ
-ด้านการเรียนรู้    การชี้นำตนเอง  การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
-ด้านศีลธรรม  ความเคารพผู้อื่น  ความซื่อสัตย์
   
     =>ทักษะ

-ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม


    -การคิดสร้างสรรค์

    -การแก้ไขปัญหา
   -การสื่อสาร ร่วมงานกับผู้อื่น

-ทักษะชีวิตและการทำงาน


   -การปรับตัว

   -ทักษะสังคม
  -การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม


    =>กระบวนการที่จำเป็นในศตวรรษที่21



                                       



















                   



      

Skills.


 1.Skills  ด้านTechnology มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
 2.มีการสรุปองค์ความรู้ให้จดจำและเข้าใจได้ง่าย
3. มีการพูดอย่างสร้างสรรค์



Teaching Methods.


     วิทยากรมีการใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาคิด  มีการใช้โปรแกรมต่างๆที่น่าสนใจทำให้นักศึกษาสนใจและตั้งใจในการฟังมากขึ้น




Assessment.


 -classroom  ลานอเนกประสงค์ อาคาร  28 การฟังการบรรยายในหัวข้อ  การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

 -Self   ตั้งใจฟังท่านวิทยากรบรรยายและมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม


 -Friend  เข้าร่วมกิจกรรม ตั้งใจฟังการบรรยายและช่วยกันตอบคำถาม

 -Professor  อาจารย์มีการแนะนำกิจกรรมต่างๆในสาขา




   

วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่3 วันอังคารที่25 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

-เนื้อหาที่เรียนในวันนี้ ไปศึกษาค้นคว้าจากหนังสือที่ห้องสมุด เกี่ยวกับเรื่อง แสง

เรื่อง แสง

ความคิดรวบยอด

-เราจะมองอะไรไม่เห็นถ้าไม่มีแสง

-แสงเดินทางเป็นเส้นตรง

-เงาเกิดขึ้นเมื่อลำแสงถูกบัง

-กลางคืนคือเงาของโลก

-ทุกสิ่งที่เราเห็นมีการสะท้อนของแสงออกมา

-ในแสงประกอบด้วยสีหลายสี

-ลำแสงทีหักเหทำให้เป็นรูปร่างของวัตถุต่างไปจากเดิม
























  Skills.


     1.การสืบค้นข้อมูล
     2.การระดมความคิด
     3.การวิเคราะห์ข้อมูล-สรุป
     4.การทำงานร่วมกัน




Teaching Methods.

      อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากหนังสือวิทยาศาสตร์เพื่อให้นักศึกษาได้อ่านทำความเข้าใจและให้สรุปเป็นของตนเอง



Assessment.

 -classroom  ห้องสมุดมีหมวดหนังสือมากมายให้ศึกษาค้นคว้า  บรรยากาศในห้องสมุดเย็นสบายมีนักศึกษาไปใช้ห้องสมุดมากมาย

 -Self   แต่งกายถูกระเบียบ มีความกระตือรือร้นในเรียน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีความรับผิดชอบในการทำงานและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม พาออกนอกสถานที่เพื่อไปศึกษาค้นคว้าในห้องสมุด