วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่7 วันอังคารที่22 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

                                                                  บันทึกอนุทิน




Knowledge.

       นำเสนอวิจัย


นางสาว วราภรณ์ แทนคำ เลขที่20








นางสาว รัตนาภรณ์ คงกะพันธ์ เลขที่21


















นางสาว ยุภา ธรรมโคตร เลขที่22




                           ของเล่นวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุเหลือใช้

ชื่อของเล่น   เครื่องเขย่าพาเพลิน


อุปกรณ์   1. ขวดน้ำพลาสติกหรือกระป๋องน้ำอัดลม
               2.เมล็ดถั่วเขียว
              3.กระดาษสีต่างๆ
               4.กาว

ขั้นตอนการทำ
1.นำขวดน้ำพลาสติกหรือกระป๋องน้ำอัดลมมาแล้วเปิดฝาออก
2.ใส่เมล็ดถั่วเขียวลงไปตามสัดส่วนที่เราต้องการ
3.ซีกกระดาษสีให้เป็นชิ้นตามขนาดที่เราต้องการ
4.ทากาวที่กระดาษที่เราซีกไว้





5.แปะกระดาษให้ทั่วขวดน้ำหรือกระป๋องน้ำอัดลม






วิธีเล่น 
ใช้มือข้างใดข้างหนึ่งจับเครื่องเขย่าแล้วเขย่าให้เกิดเสียง


ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์
ขวดน้ำหรือกระป๋องน้ำอัดลมที่ใส่เมล็ดถั่วเขียวไว้ข้างในเมื่อเราเขย่าจะมีเสียงเกิดขึ้น เป็นเพราะถั่วเขียวเกิดการสั่นสะเทือนจากการที่เราเขย่าแล้วกระทบกับกับขวดน้ำ จึงทำให้เกิดเสียงเมื่อเราเขย่าและถ้าเราใส่เมล็ดถั่วเขียวในระดับที่ต่างกันขวดหนึ่งใส่เมล็ดถั่วเขียวมากอีกขวดหนึ่งใส่เมล็ดถั่วเขียวน้อยและถ้าเราเขย่าเสียงที่เกิดขึ้นจากการเขย่าก็จะมีเสียงที่ต่างกัน



Skills.

     1การศึกษาค้นคว้าและการออกแบบของเล่นเพื่อให้เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์
    2. การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดวิเคราะห์





Teaching Methods.

      อาจารย์มีการใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิดสังเคราะห์  คิดวิเคราะห์  มีการอธิบาย  ยกตัวอย่าง


Assessment.

 -classroom    อากาศถ่ายเทสะดวก บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย จำนวนโต๊ะเก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

 -Self    เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ช่วยกันตอบคำถามและมีการจดบันทึกสรุปเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน 

 -Friend  เข้าเรียนตรงเวลา มีการแสดงความคิดเห็นและการระดมสมองในการตอบคำถามและ ช่วยกันตอบคำถามได้ดี

 -Professor  อาจารย์มีความเป็นกันเอง บริหารเวลาในการสอนได้เหมาะสม มีการอธิบาย ยกตัวอย่างเพิ่มเติมในการสอนเพื่อน

ให้เห็นภาพชัดเจน มีการใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักศึกษาเกิดการคิดวิเคราะห์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น